เหตุผลที่เลือกเพลงนี้เพราะ ต้องการสื่อให้รู้ว่าหากคุณต้องการที่จะเริ่มต้นทำอะไรก็ควรพิจารณาและรีบทำมันให้ดีที่สุด เพราะเราไม่สามารถรู้ได้ว่าเราจะมีเวลาอยู่กับสิ่งที่มี สิ่งทำอยู่ได้อีกน้อยหรือมากเพียงใด "ชีวิตที่อยากเป็น ชีวิตที่เป็นของเรา" ใช้ซะ !! เรามีสิทธิ์ที่จะเลือกทางเดินของเรา
วันเสาร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2556
มิวสิควิดีโอจากยูทูป
เหตุผลที่เลือกเพลงนี้เพราะ ต้องการสื่อให้รู้ว่าหากคุณต้องการที่จะเริ่มต้นทำอะไรก็ควรพิจารณาและรีบทำมันให้ดีที่สุด เพราะเราไม่สามารถรู้ได้ว่าเราจะมีเวลาอยู่กับสิ่งที่มี สิ่งทำอยู่ได้อีกน้อยหรือมากเพียงใด "ชีวิตที่อยากเป็น ชีวิตที่เป็นของเรา" ใช้ซะ !! เรามีสิทธิ์ที่จะเลือกทางเดินของเรา
เทคโนโลยีสารสนเทศที่น่าสนใจกับหัวข้อ ระบบฝึกจัดวางท่าทางอัจฉริยะ - ฉลาดคิด
ระบบฝึกจัดวางท่าทางอัจฉริยะ - ฉลาดคิด
ปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งของอาชีพ ทันตแพทย์หรือหมอฟันที่หลายคนไม่เคยรู้ ก็คือความผิดปกติของระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะบริเวณคอและหลังส่วนบน จากการนั่งปฏิบัติงาน ในท่าแบบเดิม ๆ เป็นเวลานาน
ปัญหานี้พบมากและเป็นกันทั่วโลก และกลายเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ทันตแพทย์ต้องเกษียณอายุก่อนเวลาอันควร
“ผศ.ทพญ.ดร.พรสวรรค์ ธนธรวงศ์” จากภาควิชาทันตกรรมทั่วไป คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บอกว่านี่คือที่มาของการพัฒนาระบบฝึกจัดวางท่าทางอัจฉริยะ (Intelligent Posture Trainer) ที่ตนเอง และ รศ.ทพญ.ดร.ศิริวรรณ สืบนุการณ์ จากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกันพัฒนาขึ้น เพื่อใช้ฝึกการจัดวางท่าทางในการปฏิบัติงานของทันตแพทย์ที่ดีขึ้น
โดยตัวระบบประกอบด้วยส่วนสำคัญหลัก ๆ 2 ส่วนด้วยกัน คือ ฮาร์ดแวร์ที่มีเซ็นเซอร์ในการเก็บข้อมูล จากองศาของการไหวของศีรษะและหลัง ในแนวก้ม-เงย เอียงซ้าย-ขวา และซอฟต์แวร์ ที่มีจุดเด่นคือสามารถพัฒนาได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ปัจจุบันพัฒนามาถึงเวอร์ชั่นที่ 3 ที่อยู่ในรูปแบบไร้สาย ส่งข้อมูลผ่านบลูทูธไปยังสมาร์ทโฟนระบบแอนดรอยด์ที่ติดตั้งแอพพลิเคชั่นไว้
ส่วนตัวฮาร์ดแวร์ออกแบบให้ติดตั้งได้กับแว่นตาของทันตแพทย์ สั่งให้ทำงานได้ทั้งแบบตั้งค่าเองหรือแบบประมวลผลอัจฉริยะ
เมื่อผู้ใช้มีองศาการเคลื่อนไหวของศีรษะหรือหลังมากกว่าที่กำหนด หรืออยู่ในท่าที่ผิดปกติเป็นเวลานาน ๆ ระบบจะทำการเตือนผ่านสมาร์ทโฟนทั้งในรูปแบบเสียงหรือสั่น นอกจากนี้ยังสามารถเก็บข้อมูลได้ตลอดเวลา ซึ่งจะบอกได้ว่ามีความเสี่ยงในการเกิดอาการโครงร่างและกล้ามเนื้อผิดปกติมากน้อยแคไหน
ผู้วิจัยบอกว่า ระบบนี้เริ่มพัฒนามาตั้งแต่ 3 ปีที่ผ่านมา เวอร์ ชั่นแรกได้รับรางวัล เหรียญทองสิ่งประ ดิษฐ์นานาชาติที่เกาหลีใต้ เมื่อปี 2555 ส่วนเวอร์ชั่น 2 เป็นการพัฒนาแบบอุปกรณ์แยกแต่ได้ผลไม่เป็นที่พอใจ ปัจจุบันเป็นเวอร์ชั่นที่ 3 หรือแบบไร้สาย ที่เพิ่งคว้ารางวัลเหรียญเงินจากงานแสดงสิ่งประดิษฐ์เจนีวา เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา
ระบบนี้ได้นำมาทดสอบใช้งานกับนิสิตทันตแพทย์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อฝึกท่าทางที่เหมาะสม ป้องกันการเกิดกล้ามเนื้ออักเสบ ซึ่งผลการศึกษาออกมาเป็นที่น่าพอใจ
สำหรับอนาคต ผู้วิจัย บอกว่า สามารถนำไปประยุกต์ไช้กับส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ผู้ป่วยพาร์คินสัน การป้องกันเด็กตกเตียง และการฝึกท่านั่งทำงานที่ถูกต้องสำหรับพนักงานออฟฟิศ
นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในการพัฒนาบุคลิกภาพได้อีกด้วย.
นาตยา คชินทร
nattayap.k@gmail.com
ขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.dailynews.co.th/technology/230690
วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
กฏของมัวร์ ( Moore's Law )
กฎของมัวร์
( Moore's Law. )
กฎของมัวร์ คือ กฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาวโดยมีความว่า จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆสองปี ซึ่งกฎนี้ได้ถูกต้องชื่อตาม กฎของมัวร์ (Moore's law) อธิบายถึง ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม โดยจะเพิ่มเป็นเท่าตัวประมาณทุก ๆ สองปี กฎนี้ได้ถูกพิสูจน์อย่างต่อเนื่องมาแล้วกว่าครึ่งศตวรรษ และคาดว่าจะใช้ได้จนถึงปี 2015 หรือ 2020 หรืออาจมากกว่านั้น
เมื่อ 40 ปีที่แล้ว มีการคิดค้น "กฎของมัวร์ (Moore 's law)" ขึ้น โดย เจ้าของทฤษฎีคือ กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ ( Moore 's law) ขึ้น ซึ่งเขาที่ทำนายว่า ทุก 2 ปี หรือ 24เดือน จำนวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ซึ่งก็เป็นจริงตามนั้น หลังจากที่มีการค้นพบวงจรรวม(ไอซี) เพียงแค่ 4 ปี
กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้น ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม จะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุกสองปี และมีผู้นำกฎนี้มาใช้กับ eCommerce ดังนี้
กำลัง (หรือ ความจุ หรือ ความเร็ว) ของสิ่งต่อไปนี้เพิ่มขึ้นสองเท่าทุกๆ 18เดือน
1. ความเร็ว Computer Processor
2. แบนด์วิธการสื่อสารและโทรคมนาคม
3. หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
4. ความจุฮาร์ดดิสก์
สรุป : ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากมาย เป็นไปตามกฎของมัวร์(Moore’s law)อย่างเห็นได้ชัด เช่น ความเร็วประมวลผล ความจุของแรม เซ็นเซอร์ หรือแม้แต่จำนวนพิกเซลของกล้องดิจิทัล ทั้งหมดนี้เป็นข้อมูลสนับสนุนอย่างคร่าว ๆ (ยังมีกฎอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเช่นราคาต่อหน่วย) การพัฒนาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชื่อของกฎถูกตั้งตามชื่อของ อดีตซีอีโอและผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล กอร์ดอน มัวร์ (Gordon E. Moore) เขาได้อธิบายกฎนี้ไว้ในรายงานของเขาเมื่อปี 1965 รายงานนั้นได้ระบุไว้ว่า จำนวนของส่วนประกรอบในวงจรรวมจะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุก ๆ ปี ตั้งแต่ปี 1958 ไปจนถึง 1965 และคาดว่าจะเป็นอย่างนี้ไปอีก "อย่างน้อยสิบปี" การทำนายของเขายังเป็นไปตามที่คาดไว้อย่างน่าประหลาดใจ อย่างน้อยกฎนี้ปัจจุบันยังถูกใช้ในอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนำที่ได้ถูกใช้เป็นแนวทางของแผนที่จะเป็นเป้าหมายของของการวิจัย และพัฒนา
วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
รหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูล Ascll และ Unicode
รหัส ASCII (American Standard Code For Information Interchange)
ASCII อ่านว่า แอส-กี้ เป็นรหัสที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute: ANSI อ่านว่า แอน-ซาย) เรียกว่าASCII Code ซึ่งเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป รหัสนี้ได้มาจากรหัสขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standardization Organization: ISO) ขนาด 7 บิท ซึ่งสามารถสร้างรหัสที่แตกต่างกันได้ถึง 128 รหัส (ตั้งแต่ 000 0000 ถึง 111 1111) โดยกำหนดให้ 32 รหัสแรกเป็น 000 0000 ถึง 001 1111 ทำหน้าที่เป็นสั่งควบคุม เช่น รหัส 000 1010 แทนการเลื่อนบรรทัด (Line Feed)ในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น และอีก 96 รหัสถัดไป (32-95) ใช้แทนอักษรและสัญลักษณ์พิเศษอื่นรหัส ASCII ใช้วิธีการกำหนดการแทนรหัสเป็นเลขฐานสิบ ทำให้ง่ายต่อการจำและใช้งาน นอกจากนั้นยังสามารถเขียนมนรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย
รหัสยูนิโค้ด (Unicode)
รหัสยูนิโค้ด (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย
ตอบคำถาม ชื่อ - สกุล ของน.ศ. ในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนด้วยรหัส Ascll ใดบ้าง และใช้พื้นที่จัดเก็บกี่ไบต์
CHANAWAN SUTTIPITAK
C : 0100 0011
H : 0100 1000
A : 0100 0001
N : 0100 1110
A : 0100 0001
W : 0101 0111
A : 0100 0001
N : 0100 1110
Splash = 0010 0000
S : 0101 0011
U : 0101 0101
T : 0101 0100
T : 0101 0100
I : 0100 1001
P : 0111 0000
I : 0100 1001
T : 0101 0100
A : 0100 0001
K : 0100 1011
CHANAWAN SUTTIPITAK มีทั้งหมด 19 Byte
หาค่าโดย 1 ตัวอักษร เท่ากับ 1 Byte
1 Byte เท่ากับ 8 Bit
19 คูณ 8 เท่ากับ 152 Bit
วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บิตตรวจสอบ
บิตตรวจสอบ ( Parity Bit )
ถึงแม้เลขฐานสองที่ใช้ในคอมพิวเตอร์มีอัตราความผิดพลาดต่ำ เพราะมีค่าความเป็นไปได้เพียง 0 หรือ 1 เท่านั้น แต่ก็อาจเกิดข้อบกพร่องขึ้นได้ภายในหน่วยความจำ ดังนั้น บิตตรวจสอบ หรือ พาริตี้บิต จึงเป็นบิตที่เพิ่มเติมเข้ามาต่อท้ายอีก 1 บิต ซึ่งถือเป็นบิตพิเศษที่ใช้สำหรับตรวจสอบความแม่นยำและความถูกต้องของข้อมูลที่จะถูกจัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์
สำหรับบิตตรวจสอบ จะมีวิธีการตรวจสอบอยู่ 2 วิธีด้วยกัน คือ
1.การตรวจสอบบิตภาวะคู่ ( Even Parity )
2.การตรวจสอบบิตภาวะคี่ ( Odd Parity )
2.การตรวจสอบบิตภาวะคี่ ( Odd Parity )
ในระบบคอมพิวเตอร์ใช้ระบบเลขฐานใดในการจัดการกับข้อมูล มีหลักการปฏิบัติการกับตัวเลขอย่างไร รวมทั้งเทคนิคการเก็บอักขระในคอมพิวเตอร์และเทคนิคของบิตตรวจสอบ
วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
ในปี ค.ศ. 1947 นักวิทยาศาสตร์ที่ศูนย์เบลล์แล็บได้ค้นพบอุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ เพื่อใช้แทนหลอดสุญญากาศ คุณสมบัติของทรานซิสเตอร์ คือเป็นสวิสซ์ที่มีขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ประมวลผลรวดเร็วและมีความน่าเชื่อถือมากกว่าหลอดสุญญากาศ คอมพิวเตอร์ที่เกิดขึ้นในยุคที่ 2 ส่วนหน่วยความจำหลักที่ใช้ในยุคนี้คือ วงแหวนแม่เหล็ก และใช้บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำสำรอง
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
สามารถแบ่งออกได้เป็นยุค ๆตามช่วงเวลา และมีเหตุการณ์สำคัญๆ
รวมถึงจุดเปลี่ยนแปลงเด่นๆ ให้นักศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล และสรุปสาระสำคัญ
เริ่มจากเครื่อง UNIVAC I เป็นต้นมา ซึ่งเครื่องUNIVAC I นี้ เอ็คเคิร์นและมอชลีได้เริ่มโครงการสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1946 ณ มหาวิทยาลัยเพนซิวาเนีย โดยสร้างสำเร็จและเผยสู่สาธารณชนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1951 เครื่อง UNIVAC I เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่นำมาใช้กับงานด้านธุรกิจเมื่อปี ค.ศ. 1954 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 จะใช้หลอดสุญญากาศ เป็นหน่วยประมวลผลกลาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี ค.ศ.1960 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
ในกลางปี ค.ศ. 1970 บริษัทอินเทลได้ค้นพบวิธีการนำทรานซิสเตอร์หลายพันตัวบรรจุลงในชิปซิลิคอนหรือไอซีเพียงตัวเดียว และต่อมาในปี ค.ศ. 1975 คอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่ใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ 8080 ได้สร้างขึ้นภายในชื่อว่า Altair8800 ซึ่งเป็นไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ในยุคที่ 4 ไมโครคอมพิวเตอร์ได้มีการแพร่หลายมาก จนกระทั่งบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ได้ทำการสร้าง เครื่องคอมพิวเตอร์แอปเปิล และเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่ได้รับความนิยามใช้งานเป็นอย่างสูงนับแต่นั้นมา
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5
ในปี ค.ศ. 1979 บริษัทโมโตโรลา ได้สร้างไมโครโปรเซสเซอร์ รุ่น MC68000 ที่บรรจุจำนวนทรานซิสเตอร์ได้ถึง 68,000 ชิ้น และไมโครคอมพิวเตอร์จำนวนมากมายได้ใช้ชิปดังกล่าวเป็นตัวประมวลผลชิปนี้มีความสามารถเทียบเท่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ในยุคก่อนๆ เลยทีเดียว เทคโนโลยีในยุคที่ 5 จัดเป็นยุคปัจจุบันที่ใช้ความสามารถของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้กับงานด้านฐานความรู้ ระบบผู้เชี่ยวชาญ และระบบปัญญาประดิษฐ์
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 6
(ปี ค.ศ. 1990 - ปัจจุบัน) ที่ผ่านมาทั้ง 5 ยุค พัฒนาการของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทางการปรับปรุงการผลิต และการ เสริมสร้างความสามารถทางด้านการคำนวณของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นการจำกัด ความสามารถทางด้านการป้อนข้อมูล ในปัจจุบัน ความต้องการทางด้านการป้อนข้อมูลอย่างอิสระ โดยใช้เสียงและภาพ ซึ่งถือเป็นการป้อนข้อมูลโดยธรรมชาตินั้นสูงขึ้นเรื่อยๆ ความต้องการคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ไม่เป็นเพียงแต่เครื่องคำนวณ จึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เทคโนโลยี การ
ติดต่อระหว่างประเทศและอื่น ๆ
***************************
History Computer (ประวัติคอมพิวเตอร์)
บุคคลต่อไปนี้ มีความสำคัญอย่างไร ในประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์จงอธิบาย โดยระบุถึงปีที่เกิดเหตุการณ์ และผลงานที่สำคัญ
A. Charies
Babbage ( ชาร์ลส์ แบบเบจ )
บิดาแห่งคอมพิวเตอร์(1791-1871)
Charles Babbage (26 ธันวาคม 1791
– 18 ตุลาคม 1871) เขาเป็นนักคณิตศาสตร์
นักปรัชญาวิเคราะห์ และเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ เนื่องจากเขาเป็นคนแรก
ที่มีแนวคิดเรื่องเครื่องคำนวณที่สามารถโปรแกรมหรือสั่งให้ทำงานได้
เครื่องในจินตนาการของเขายังไม่เสร็จสมบูรณ์ เขาก็เสียชีวิตก่อนที่จะได้เห็นความฝันของเขาเป็นจริง
ปัจจุบันนี้ผลงานของเขาไว้ถูกเก็บและแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ลอนดอน
ผลงานนั้นคือเครื่องคำนวณหาผลต่าง (Difference Engine) และเมื่อปี
1991 นี้เองที่เครื่องหาผลต่างนี้ถูกสร้างให้เสร็จสมบูรณ์ตามแบบที่
Babbage ได้ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าเครื่องจักรจากแนวคิดของเขาทำงานได้จริงแล้ว
ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage) เกิดที่อังกฤษ ในครอบครัวของนายธนาคาร
และเติบโตมาในยุคที่อังกฤษเป็นประเทศที่มีอำนาจ
และกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม
โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนทุนพัฒนาในสาขาต่างๆ อย่างเต็มที่
แบบเบจศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ ทรินิตี้ คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
ที่คณะคณิตศาสตร์ (Mathematical Laboratory)
ในทางคณิตศาสตร์ แบบเบจ เน้นศึกษาด้านแคลคูลัสเป็นพิเศษ.
ปี ค.ศ. 1816 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น Fellow ของ Royal
Society ปี ค.ศ. 1820 เค้าตั้งชมรมด้านดาราศาสตร์ขึ้น
พร้อมๆ กับเริ่มทำงานวิจัยสำคัญของเค้าในยุคต้น ที่ทำให้เค้าโด่งดังมากคือ Difference
Engine (ใช้ Newton's method of successive differences) ในปี ค.ศ. 1828 แบบเบจได้รับแต่งตั้งให้เป็น the
Lucasian Chair of Mathematics at Cambridge (เหมือนกับ เซอร์ ไอแซค
นิวตัน และ สตีเฟ่น ฮอว์คิง) ต่อมา แบบเบจขยายงานมาศึกษาเครื่องวิเคราะห์ (Analytical
Engine) เพื่อสร้างเป็น เครื่องจักรที่สามารถรองรับการคำนวณทุกชนิด
(ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์)
แต่ก็เป็นเพียงทฤษฏีเท่านั้น
เพราะเค้าไม่สามารถสร้างออกมาในช่วงที่เค้ามีชีวิตอยู่
เนื่องจากมีคนไม่เห็นด้วยมากมาย
เพราะความคิดเค้าทันสมัยเกินกว่าเทคโนโลยีในยุคนั้น จนทุกๆ คนคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้
จึงโดนตัดงบวิจัยในปี ค.ศ. 1832 แต่แบบเบจก็ฝืนทำต่อแบบไม่มีงบ
จนทำไม่ไหว จนต้องปิดโครงการนี้ไป ในปี ค.ศ. 1842
ภาพแสดงชิ้นส่วนของเครื่องคำนวณหาผลต่าง
ผลงาน
:
เครื่องคำนวณหาผลต่าง differential machine และเครื่องวิเคราะห์
analytical machine
เครื่องคำนวณหาผลต่างของ Babbage นี้ทำงานโดยอาศัยเครื่องจักรกล
(สมัยนั้นยังไม่มีไฟฟ้าใช้) ประกอบด้วยฟันเฟืองหลาย ๆ ตัวเป็นตัวขับเคลื่อน
เครื่องนี้ใช้ในการหาค่าของฟังก์ชันโพลิโนเมียล (Polynomial) ออกมาเป็นเป็นตาราง ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ผลต่าง
(สามารถหาค่าของฟังก์ชันลอการิทึม (logarithm function) และ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric function) ได้ด้วยเนื่องจากฟังชันก์ทั้งสองนี้สามารถประมาณค่าโดยฟังก์ชันโพลิโนเมียลได้)
B.
Lady Augusta Ada Byron (เอดา
ไบรอน. เอดี้ เอิฟเลช)
(1816-1852)
เอดา อายุ 18 ปี เอดาได้ไปงานเลี้ยงอาหารค่ำที่บ้านของ Mrs. Somerville จนได้พบกับCharles Babbage (บิดาของคอมพิวเตอร์) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคณิตศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับอย่างสูง เอดาได้สนใจในแนวคิดของ Babbageมากๆจนอาสา เป็นผู้ช่วยงานและพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือการคิดสร้างภาษา(Progrmming)สำหรับเครื่อง Analytical Engine จากนั้นก็พัฒนาและคิดค้นแนวคิดต่างๆมาเรื่อยๆ
ในยุคนั้น ผู้หญิงอย่างเอดาก็ไม่ได้รับการยกย่องในงานทางวิทยาศาสตร์มากนัก แต่เธอก็ได้กำลังจากจากสามี ที่คอยให้ความเห็นอกเห็นใจ เอาใจช่วยในการฝ่าฟันปัญหาและอุปสรรคต่างๆจนเธอได้การยอมรับในภายหลัง เอดาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเมื่อปี ค.ศ.1852 ต่อมาปี ค.ศ.1979 ได้มีการตั้งชื่อคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบไร้คนควบคุมเครื่องหนึ่งซึ่งพัฒนาโดยกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกาว่า "เอดา" เพื่อเป็นเกียรติให้กับเธอด้วย
เอดาจึงเป็นคนแรกที่มีแนวคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการคำนวณ และไม่เพียงแต่คำนวณได้เท่านั้น เอดายังสามารถคาดการณ์เอาไว้ล่วงหน้าได้อีกว่า ในอนาคตคอมพิวเตอร์จะสามารถนำมาใช้สร้างเสียงดนตรีและช่วยกระบวนการ อุตสาหกรรมได้
C. Herman Hollerith
ปี พ.ศ. 2439 Herman Hollerith ได้คิดบัตรเจาะรูและเครื่องอ่านบัตร Hollerith ได้สนับสนุนสำคัญในการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยด้วยเทคโนโลยีบัตร punched ไม่ทั้งหมดคิดของเขาก็คล้ายความสำเร็จอันยิ่งใหญ่. ใน 1880s ในเวลาเดียวกับที่เขาได้พัฒนาระบบบัตรของเขาแรก punched เขาคิดค้นระบบเบรกใหม่สำหรับรถไฟ. แต่ระบบเบรกของเขา actuated electrically หายออกไปไอ Westinghouse-actuated เบรก.
D. Alan Turing
เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุกๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของ เครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ
E. Konrad Zuse
Zuse สร้างคอมพิวเตอร์ Z1เสร็จเครื่องใน 1,938. มันเป็นกลทั้งหมดมีหน่วยคำนวณประกอบด้วยจำนวนมากสวิตช์เครื่องกลและหน่วยความจำประกอบด้วยชั้นของแถบโลหะระหว่างชั้นของกระจก. หนึ่งในคุณสมบัติใหม่ที่สุดของมันแล้วว่าจะเป็นโปรแกรมโดยเทป punched. เหตุผลหลักว่าทำไม Zuse ประสบความสำเร็จในการสร้างคอมพิวเตอร์กลของเขาที่ Babbage ได้ล้มเหลวคือความจริงที่ Z1 Zuse ของเป็นเครื่อง binary สองตำแหน่งสวิทช์เพื่อแสดง 0 และ 1. แต่กล่าว Zuse ที่ประสบความสำเร็จกับ Z1 เป็นบิตของการพูดเกินจริงสำหรับเครื่องไม่ได้ดี. หน่วยความจำที่มีคุณสมบัติสำเร็จวิธีการที่คำสั่งถูกส่งผ่านเชื่อมโยงกลไม่สำเร็จ.
F. Prof. Howard H. Aiken
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2480 Howard Aiken สร้างเครื่องกล automatic calculating machine ขึ้น จุดประสงค์ของเครื่องกลชิ้นนี้ก็คือ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีทั้งทาง electrical และ mechanical เข้ากับบัตรเจาะรูของ Hollerith และด้วยความช่วยเหลือของนักศึกษาปริญญาและวิศวกรรมของ IBM ทีมงานของ Howard ก็ประดิษฐ automatic calculating machine สำเร็จในปี พ.ศ. 2487 โดยใช้ชื่อว่า MARK I โดยการทำงานภายในตัวเครื่องจะถูกควบคุมอย่างอัตโนมัติด้วย electromagnetic relays และ arthmetic counters ซึ่งเป็น mechanical ดังนั้น MARK I จึงนับเป็น electromechanical computers
G. Dr.
John V. Atanasoff & Clifford Berry
Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ได้ประดิษฐเครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer) โดยใช้ หลอดสูญญากาศ (vacuum tubes)
ปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ได้ร่วมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศัยหลักการออกแบบบนพื้นฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่องแรกมีชื่อว่าENIAC แม้จะเป็นelectronic computer แต่ENIACก็ยังไม่สามารถเก็บโปรแกรมได้(stored program) จึงได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSA C และท้ายสุดก็ได้พัฒนาเป็นเครื่อง UNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาต่อมา
H. Dr.
John W. Mauchly & J. Presper Eckert
ปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ได้ร่วมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศัยหลักการออกแบบบนพื้นฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่องแรกมีชื่อว่าENIAC แม้จะเป็นelectronic computer แต่ENIACก็ยังไม่สามารถเก็บโปรแกรมได้(stored program) จึงได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSAC และท้ายสุดก็ได้พัฒนาเป็นเครื่องUNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาต่อ
I. Dr.
John Von Neumann
ในปี ค.ศ. 1944 เขาได้คิดหลักการ "MAD" (mutually assured destruction) อาจแปลไทยได้เป็น "รับรองได้ว่าเจ๊งไปด้วยกันทั้งคู่แน่" ซึ่งเป็นหลักการซึ่งใช้เป็นหลักสำคัญ ในการวางแผนกลยุทธ์ทางด้านอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น นอยมันน์เป็นคนคิด สถาปัตยกรรมแบบ ฟอน นอยมันน์ ซึ่งใช้กันในคอมพิวเตอร์ (แบบที่ไม่ได้ประมวลผลแบบขนาน) ส่วนใหญ่ พูดได้ว่า คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดในโลกนี้ เป็นเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ เขาเป็นผู้ริเริ่มสาขา cellular automata และได้สร้างตัวอย่างชุดแรกของ self-replicating automata โดยใช้แค่กระดาษกราฟ กับ ดินสอธรรมดาๆ (ไม่มีคอมพิวเตอร์ช่วยเลย) คำว่า เครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ ยังหมายความถึง เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ (self-replicating machine)
J. Dr.
Ted Hoff
ดร. เท็ด ฮอฟฟ์ (Ted Hoff) แห่งบริษัทอินเทล (Intel Corporation) ได้พัฒนาชิพที่มีขนาดเล็กมาก จึงได้ชื่อว่าไมโครโพรเซสเซอร์ ชื่อรุ่นคือ Intel 4004 เป็นหน่วยประมวลผลขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิพขนาดเล็กนี้เจึงถูกรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย
K. Steve
Jobs & Steve Wazniak
ปี 1970 วอซเนียกได้รู้จักกับสตีฟ จ๊อบส์ เนื่องจากมีงานฤดูร้อนในธุรกิจ
เดียวกัน และกลายเป็นเพื่อนกันในที่สุด จ๊อบส์และวอซเนียกได้ขาทรัพย์สิน
บางส่วนได้เงินประมาณ 1,300 เหรียญ และได้ร่วมกันประกอบคอมพิวเตอร์
ต้นแบบซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของแอปเปิ้ล
1 เมษายน 1976 จ๊อบส์และวอซเนียกก็ได้ก่อตั้ง Apple Computer โดย
ที่วอซเนียกได้ลาออกจากงานของเขาที่ Hewlett-Packard และทำงานใน
แผนกการวิจัยและการพัฒนาที่แอปเปิ้ล ผลิตภัณฑ์แรกของพวกเขาคือให้
คอมพิวเตอร์ Apple I ในยุคที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลส่วนใหญ่จะใช้ในเชิง
พาณิชย์ โดยจ๊อบส์และว๊อซเนียกได้ขายคอมพิวเตอร์ 100 เครื่องแรกให้
กับ Paul Terrell ในการเปิดร้านคอมพิวเตอร์ใหม่ที่มีชื่อว่า Byte Shop ใน
เมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย
ปี 1980 แอปเปิ้ลเป็นที่โด่งดังและทำให้จ๊อบส์และวอซเนียกกลายเป็นมหา
เศรษฐี โดยสตีฟ จ๊อบส์ได้อนุญาตที่จะให้พนักงานบางส่วนของได้ซื้อหุ้น
ของ Apple ดั้งนั้นวอซเนียกจึงตัดสินใจที่จะแบ่งหุ้นส่วนหนึ่งของตนออกไป
ปี 1983 เขาตัดสินใจกลับไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับแอปเปิ้ล แต่เขาไม่ต้อง
การบทบาทในบริษัทฯมากไปกว่าของวิศวกรคอมพิวเตอร์
วอซเนียกได้สิ้นสุดการเป็นพนักงานจ้างเต็มเวลากับ Apple ในวันที่ 6
กุมภาพันธ์ 1987 เป็นเวลากว่า 12 ปีหลังจากการก่อตั้งบริษัท แต่ถึงกระ
นั้นเขาก็ยังเป็นผู้ถือหุ้นและกรรมการบริหารบริษัท
L. Bill
Gates
บิล เกตส์เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกัน และหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์สำหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วมกับพอล แอลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการบริหาร และหัวหน้าสถาปนิกซอฟต์แวร์ นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้ บิล เกตส์ เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกหลายปีติดต่อกัน
*************************
A. Charies
Babbage ( ชาร์ลส์ แบบเบจ )
บิดาแห่งคอมพิวเตอร์(1791-1871)
Charles Babbage (26 ธันวาคม 1791
– 18 ตุลาคม 1871) เขาเป็นนักคณิตศาสตร์
นักปรัชญาวิเคราะห์ และเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ เนื่องจากเขาเป็นคนแรก
ที่มีแนวคิดเรื่องเครื่องคำนวณที่สามารถโปรแกรมหรือสั่งให้ทำงานได้
เครื่องในจินตนาการของเขายังไม่เสร็จสมบูรณ์ เขาก็เสียชีวิตก่อนที่จะได้เห็นความฝันของเขาเป็นจริง
ปัจจุบันนี้ผลงานของเขาไว้ถูกเก็บและแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ลอนดอน
ผลงานนั้นคือเครื่องคำนวณหาผลต่าง (Difference Engine) และเมื่อปี
1991 นี้เองที่เครื่องหาผลต่างนี้ถูกสร้างให้เสร็จสมบูรณ์ตามแบบที่
Babbage ได้ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าเครื่องจักรจากแนวคิดของเขาทำงานได้จริงแล้ว
ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage) เกิดที่อังกฤษ ในครอบครัวของนายธนาคาร
และเติบโตมาในยุคที่อังกฤษเป็นประเทศที่มีอำนาจ
และกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม
โดยรัฐบาลให้การสนับสนุนทุนพัฒนาในสาขาต่างๆ อย่างเต็มที่
แบบเบจศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ ทรินิตี้ คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
ที่คณะคณิตศาสตร์ (Mathematical Laboratory)
ในทางคณิตศาสตร์ แบบเบจ เน้นศึกษาด้านแคลคูลัสเป็นพิเศษ.
ปี ค.ศ. 1816 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น Fellow ของ Royal
Society ปี ค.ศ. 1820 เค้าตั้งชมรมด้านดาราศาสตร์ขึ้น
พร้อมๆ กับเริ่มทำงานวิจัยสำคัญของเค้าในยุคต้น ที่ทำให้เค้าโด่งดังมากคือ Difference
Engine (ใช้ Newton's method of successive differences) ในปี ค.ศ. 1828 แบบเบจได้รับแต่งตั้งให้เป็น the
Lucasian Chair of Mathematics at Cambridge (เหมือนกับ เซอร์ ไอแซค
นิวตัน และ สตีเฟ่น ฮอว์คิง) ต่อมา แบบเบจขยายงานมาศึกษาเครื่องวิเคราะห์ (Analytical
Engine) เพื่อสร้างเป็น เครื่องจักรที่สามารถรองรับการคำนวณทุกชนิด
(ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์)
แต่ก็เป็นเพียงทฤษฏีเท่านั้น
เพราะเค้าไม่สามารถสร้างออกมาในช่วงที่เค้ามีชีวิตอยู่
เนื่องจากมีคนไม่เห็นด้วยมากมาย
เพราะความคิดเค้าทันสมัยเกินกว่าเทคโนโลยีในยุคนั้น จนทุกๆ คนคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้
จึงโดนตัดงบวิจัยในปี ค.ศ. 1832 แต่แบบเบจก็ฝืนทำต่อแบบไม่มีงบ
จนทำไม่ไหว จนต้องปิดโครงการนี้ไป ในปี ค.ศ. 1842
ภาพแสดงชิ้นส่วนของเครื่องคำนวณหาผลต่าง
ผลงาน
:
เครื่องคำนวณหาผลต่าง differential machine และเครื่องวิเคราะห์
analytical machine
เครื่องคำนวณหาผลต่างของ Babbage นี้ทำงานโดยอาศัยเครื่องจักรกล
(สมัยนั้นยังไม่มีไฟฟ้าใช้) ประกอบด้วยฟันเฟืองหลาย ๆ ตัวเป็นตัวขับเคลื่อน
เครื่องนี้ใช้ในการหาค่าของฟังก์ชันโพลิโนเมียล (Polynomial) ออกมาเป็นเป็นตาราง ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ผลต่าง
(สามารถหาค่าของฟังก์ชันลอการิทึม (logarithm function) และ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric function) ได้ด้วยเนื่องจากฟังชันก์ทั้งสองนี้สามารถประมาณค่าโดยฟังก์ชันโพลิโนเมียลได้)
B.
Lady Augusta Ada Byron (เอดา
ไบรอน. เอดี้ เอิฟเลช)
(1816-1852)
เอดา อายุ 18 ปี เอดาได้ไปงานเลี้ยงอาหารค่ำที่บ้านของ Mrs. Somerville จนได้พบกับCharles Babbage (บิดาของคอมพิวเตอร์) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคณิตศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับอย่างสูง เอดาได้สนใจในแนวคิดของ Babbageมากๆจนอาสา เป็นผู้ช่วยงานและพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือการคิดสร้างภาษา(Progrmming)สำหรับเครื่อง Analytical Engine จากนั้นก็พัฒนาและคิดค้นแนวคิดต่างๆมาเรื่อยๆ
ในยุคนั้น ผู้หญิงอย่างเอดาก็ไม่ได้รับการยกย่องในงานทางวิทยาศาสตร์มากนัก แต่เธอก็ได้กำลังจากจากสามี ที่คอยให้ความเห็นอกเห็นใจ เอาใจช่วยในการฝ่าฟันปัญหาและอุปสรรคต่างๆจนเธอได้การยอมรับในภายหลัง เอดาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเมื่อปี ค.ศ.1852 ต่อมาปี ค.ศ.1979 ได้มีการตั้งชื่อคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบไร้คนควบคุมเครื่องหนึ่งซึ่งพัฒนาโดยกระทรวงกลาโหมของประเทศสหรัฐอเมริกาว่า "เอดา" เพื่อเป็นเกียรติให้กับเธอด้วย
เอดาจึงเป็นคนแรกที่มีแนวคิดว่าคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการคำนวณ และไม่เพียงแต่คำนวณได้เท่านั้น เอดายังสามารถคาดการณ์เอาไว้ล่วงหน้าได้อีกว่า ในอนาคตคอมพิวเตอร์จะสามารถนำมาใช้สร้างเสียงดนตรีและช่วยกระบวนการ อุตสาหกรรมได้
C. Herman Hollerith
D. Alan Turing
เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุกๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของ เครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ
E. Konrad Zuse
Zuse สร้างคอมพิวเตอร์ Z1เสร็จเครื่องใน 1,938. มันเป็นกลทั้งหมดมีหน่วยคำนวณประกอบด้วยจำนวนมากสวิตช์เครื่องกลและหน่วยความจำประกอบด้วยชั้นของแถบโลหะระหว่างชั้นของกระจก. หนึ่งในคุณสมบัติใหม่ที่สุดของมันแล้วว่าจะเป็นโปรแกรมโดยเทป punched. เหตุผลหลักว่าทำไม Zuse ประสบความสำเร็จในการสร้างคอมพิวเตอร์กลของเขาที่ Babbage ได้ล้มเหลวคือความจริงที่ Z1 Zuse ของเป็นเครื่อง binary สองตำแหน่งสวิทช์เพื่อแสดง 0 และ 1. แต่กล่าว Zuse ที่ประสบความสำเร็จกับ Z1 เป็นบิตของการพูดเกินจริงสำหรับเครื่องไม่ได้ดี. หน่วยความจำที่มีคุณสมบัติสำเร็จวิธีการที่คำสั่งถูกส่งผ่านเชื่อมโยงกลไม่สำเร็จ.
F. Prof. Howard H. Aiken
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2480 Howard Aiken สร้างเครื่องกล automatic calculating machine ขึ้น จุดประสงค์ของเครื่องกลชิ้นนี้ก็คือ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีทั้งทาง electrical และ mechanical เข้ากับบัตรเจาะรูของ Hollerith และด้วยความช่วยเหลือของนักศึกษาปริญญาและวิศวกรรมของ IBM ทีมงานของ Howard ก็ประดิษฐ automatic calculating machine สำเร็จในปี พ.ศ. 2487 โดยใช้ชื่อว่า MARK I โดยการทำงานภายในตัวเครื่องจะถูกควบคุมอย่างอัตโนมัติด้วย electromagnetic relays และ arthmetic counters ซึ่งเป็น mechanical ดังนั้น MARK I จึงนับเป็น electromechanical computers
G. Dr.
John V. Atanasoff & Clifford Berry
Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ได้ประดิษฐเครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer) โดยใช้ หลอดสูญญากาศ (vacuum tubes)
ปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ได้ร่วมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศัยหลักการออกแบบบนพื้นฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่องแรกมีชื่อว่าENIAC แม้จะเป็นelectronic computer แต่ENIACก็ยังไม่สามารถเก็บโปรแกรมได้(stored program) จึงได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSA C และท้ายสุดก็ได้พัฒนาเป็นเครื่อง UNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาต่อมา
H. Dr.
John W. Mauchly & J. Presper Eckert
ปี พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ได้ร่วมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศัยหลักการออกแบบบนพื้นฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่องแรกมีชื่อว่าENIAC แม้จะเป็นelectronic computer แต่ENIACก็ยังไม่สามารถเก็บโปรแกรมได้(stored program) จึงได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ์และได้มีการพัฒนาเป็นเครื่อง EDSAC และท้ายสุดก็ได้พัฒนาเป็นเครื่องUNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาต่อ
I. Dr.
John Von Neumann
ในปี ค.ศ. 1944 เขาได้คิดหลักการ "MAD" (mutually assured destruction) อาจแปลไทยได้เป็น "รับรองได้ว่าเจ๊งไปด้วยกันทั้งคู่แน่" ซึ่งเป็นหลักการซึ่งใช้เป็นหลักสำคัญ ในการวางแผนกลยุทธ์ทางด้านอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น นอยมันน์เป็นคนคิด สถาปัตยกรรมแบบ ฟอน นอยมันน์ ซึ่งใช้กันในคอมพิวเตอร์ (แบบที่ไม่ได้ประมวลผลแบบขนาน) ส่วนใหญ่ พูดได้ว่า คอมพิวเตอร์เกือบทั้งหมดในโลกนี้ เป็นเครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ เขาเป็นผู้ริเริ่มสาขา cellular automata และได้สร้างตัวอย่างชุดแรกของ self-replicating automata โดยใช้แค่กระดาษกราฟ กับ ดินสอธรรมดาๆ (ไม่มีคอมพิวเตอร์ช่วยเลย) คำว่า เครื่องจักรแบบ ฟอน นอยมันน์ ยังหมายความถึง เครื่องจักรที่สร้างตนเองซ้ำได้ (self-replicating machine)
J. Dr.
Ted Hoff
ดร. เท็ด ฮอฟฟ์ (Ted Hoff) แห่งบริษัทอินเทล (Intel Corporation) ได้พัฒนาชิพที่มีขนาดเล็กมาก จึงได้ชื่อว่าไมโครโพรเซสเซอร์ ชื่อรุ่นคือ Intel 4004 เป็นหน่วยประมวลผลขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิพขนาดเล็กนี้เจึงถูกรียกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย
K. Steve
Jobs & Steve Wazniak
ปี 1970 วอซเนียกได้รู้จักกับสตีฟ จ๊อบส์ เนื่องจากมีงานฤดูร้อนในธุรกิจ
เดียวกัน และกลายเป็นเพื่อนกันในที่สุด จ๊อบส์และวอซเนียกได้ขาทรัพย์สิน
บางส่วนได้เงินประมาณ 1,300 เหรียญ และได้ร่วมกันประกอบคอมพิวเตอร์
ต้นแบบซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของแอปเปิ้ล
1 เมษายน 1976 จ๊อบส์และวอซเนียกก็ได้ก่อตั้ง Apple Computer โดย
ที่วอซเนียกได้ลาออกจากงานของเขาที่ Hewlett-Packard และทำงานใน
แผนกการวิจัยและการพัฒนาที่แอปเปิ้ล ผลิตภัณฑ์แรกของพวกเขาคือให้
คอมพิวเตอร์ Apple I ในยุคที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลส่วนใหญ่จะใช้ในเชิง
พาณิชย์ โดยจ๊อบส์และว๊อซเนียกได้ขายคอมพิวเตอร์ 100 เครื่องแรกให้
กับ Paul Terrell ในการเปิดร้านคอมพิวเตอร์ใหม่ที่มีชื่อว่า Byte Shop ใน
เมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย
ปี 1980 แอปเปิ้ลเป็นที่โด่งดังและทำให้จ๊อบส์และวอซเนียกกลายเป็นมหา
เศรษฐี โดยสตีฟ จ๊อบส์ได้อนุญาตที่จะให้พนักงานบางส่วนของได้ซื้อหุ้น
ของ Apple ดั้งนั้นวอซเนียกจึงตัดสินใจที่จะแบ่งหุ้นส่วนหนึ่งของตนออกไป
ปี 1983 เขาตัดสินใจกลับไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับแอปเปิ้ล แต่เขาไม่ต้อง
การบทบาทในบริษัทฯมากไปกว่าของวิศวกรคอมพิวเตอร์
วอซเนียกได้สิ้นสุดการเป็นพนักงานจ้างเต็มเวลากับ Apple ในวันที่ 6
กุมภาพันธ์ 1987 เป็นเวลากว่า 12 ปีหลังจากการก่อตั้งบริษัท แต่ถึงกระ
นั้นเขาก็ยังเป็นผู้ถือหุ้นและกรรมการบริหารบริษัท
L. Bill
Gates
บิล เกตส์เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกัน และหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์สำหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วมกับพอล แอลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการบริหาร และหัวหน้าสถาปนิกซอฟต์แวร์ นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้ บิล เกตส์ เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกหลายปีติดต่อกัน
*************************
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)